วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558
คำสั่งแทรกรูปภาพ
การใส่รูปภาพ
การทำเว็บเพจในหนึ่งหน้า นอกจากจะมีข้อความแล้วยังต้องประกอบด้วยรูปภาพเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับเว็บเพจ นอกจากนี้แล้วรูปภาพยังสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนกว่าข้อความ ดังคำกล่าวที่ว่า "หนึ่งภาพแทนพันตัวอักษร" การใส่รูปภาพในเอกสาร HTML นั้นคุณจะต้องเตรียมรูปภาพไว้ก่อนค่ะ โดยใช้แท็กสำหรับแสดงผลรูปภาพดังนี้ค่ะ
รูปแบบการใส่รูปภาพ
<html>
<head><title> ....การใส่รูปภาพ....</title></head>
<body>
<img src = "lilies.jpg">
</body>
</html>
สำหรับแท็กการใส่รูปภาพ สามารถมี Attribute กำกับเพิ่มเติมได้้ ไม่ว่าจะเป็นขนาดความกว้าง ความสูงของรูปภาพว่าเราต้องการให้แสดงขนาดกว้างและสูง เท่าไหร่ ซึ่งหากเราไม่ได้ระบุภาพจะมีขนาดเท่าขนาดของภาพต้นฉบับ นอกจากนี้เรายังสามารถใส่ขอบของภาพได้ด้วย ซึ่ง Attribute มีดังนี้
ความกว้าง width="ตัวเลขระบุความกว้าง"
ความสูง height="ตัวเลขระบุความสูง"
เส้นขอบ border="ตัวเลขระบุความหนาของเส้นขอบ"
ตัวอย่าง <img src = "lilies.jpg" width="200" height="150" border="1">
จากตัวอย่าง จะแสดงภาพขนาด 200x150 px. (หน่วยการแสดงผลภาพ แสดงเป็น Pixels) และ่มีขอบ หากไม่ต้องการให้แสดงเส้นขอบให้กำหนด border="0" (หากต้องการใ้ห้ขอบมีความหนามาก ระบุตัวเลขให้มาก)
การทำเว็บเพจในหนึ่งหน้า นอกจากจะมีข้อความแล้วยังต้องประกอบด้วยรูปภาพเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับเว็บเพจ นอกจากนี้แล้วรูปภาพยังสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนกว่าข้อความ ดังคำกล่าวที่ว่า "หนึ่งภาพแทนพันตัวอักษร" การใส่รูปภาพในเอกสาร HTML นั้นคุณจะต้องเตรียมรูปภาพไว้ก่อนค่ะ โดยใช้แท็กสำหรับแสดงผลรูปภาพดังนี้ค่ะ
รูปแบบการใส่รูปภาพ
<html>
<head><title> ....การใส่รูปภาพ....</title></head>
<body>
<img src = "lilies.jpg">
</body>
</html>
สำหรับแท็กการใส่รูปภาพ สามารถมี Attribute กำกับเพิ่มเติมได้้ ไม่ว่าจะเป็นขนาดความกว้าง ความสูงของรูปภาพว่าเราต้องการให้แสดงขนาดกว้างและสูง เท่าไหร่ ซึ่งหากเราไม่ได้ระบุภาพจะมีขนาดเท่าขนาดของภาพต้นฉบับ นอกจากนี้เรายังสามารถใส่ขอบของภาพได้ด้วย ซึ่ง Attribute มีดังนี้
ความกว้าง width="ตัวเลขระบุความกว้าง"
ความสูง height="ตัวเลขระบุความสูง"
เส้นขอบ border="ตัวเลขระบุความหนาของเส้นขอบ"
ตัวอย่าง <img src = "lilies.jpg" width="200" height="150" border="1">
จากตัวอย่าง จะแสดงภาพขนาด 200x150 px. (หน่วยการแสดงผลภาพ แสดงเป็น Pixels) และ่มีขอบ หากไม่ต้องการให้แสดงเส้นขอบให้กำหนด border="0" (หากต้องการใ้ห้ขอบมีความหนามาก ระบุตัวเลขให้มาก)
ใบงาน HTML
ให้สรุปคำสั่ง HTML มา 5 คำสั่ง
1. <br>...</br> เว้นบรรทัด
2. <dir>...</dir> การทำหัวข้อ
3. <b>...</b> ตัวอักษรตัวใหญ่
4. <i>...</i> ตัวอักษรตัวเอียง
5. <title>...</title> การเขียนหน้าเว็บ
1. <br>...</br> เว้นบรรทัด
2. <dir>...</dir> การทำหัวข้อ
3. <b>...</b> ตัวอักษรตัวใหญ่
4. <i>...</i> ตัวอักษรตัวเอียง
5. <title>...</title> การเขียนหน้าเว็บ
วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558
ใบงานที่6
1.หลักการเขียนภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร?
ตอบ หลักการเขียนรูปแบบโครงสร้างคำสั่งของภาษานั้นๆ โดยภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อควบคุมและสั่งงานให้เครื่องทำงานตามคำสั่งเพื่อให้ผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
2.โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คืออะไร?
ตอบ โปรแกรมแปลภาษาเป็นซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่แปลงโค้ดโปรแกรม (Source Program) เป็นคำสั่งปฏิบัติการ (Object Program) เนื่องจากภาษาระดับต่ำและภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้ได้ จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้เป็นตัวแปลภาษาเครื่องเสียก่อนซึ่งโปรแกรมแปลภาษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ตัวแปลภาษาระดับต่ำ ภาษาระดับต่ำแม้ว่าจะเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเครื่องแต่ลักษณะของภาษานี้ใช้ตัวอักษรแทนชุดคำสั่งของเลขฐานสอง (0,1) ในภาษาเครื่อง จึงจำเป็นชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับต่ำให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับนี้ ได้แก่ โปรแกรมภาษาแอสเซมเบลอร์ ( Assembler ) ที่ใช้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซทบลี (Assembly)
2.2 ตัวแปลภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน โดยมีรูปแบบคำสั่งที่มนุษย์อ่านและวามารถเข้าใจได้เพราะใช้อักขระในภาษาอังกฤษเป็นองค์ประกอบ แต่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจคำสั่งนั้นๆ จึงจำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องอีกที ซึ่งโปรแกรมภาษาระดับสูง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.2.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องลักษณะการแปลภาษาระดับสูงของคอมไพเลอร์นั้น เป็นลักษณะการตรวจสอบคำสั่งที่ได้รับเข้ามาว่าการเขียนคำสั่งนั้นถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษาหรือไม่ถ้ายังไม่ถูกต้องก็จะแจ้งข้อผิดพลาดให้ผู้ใช้ทราบเพื่อจะทำการแก้ไขให้ถูกต้อง ถ้าหากตรวจสอบแล้วถูกต้องจะแปลจาก Source Program ให้เป็น Object program เก็บไว้ในหน่วยความจำ และถ้ามีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงชุดคำสั่งใหม่ จะต้องมีการแปลชุดคำสั่งใหม่ทั้งโปรแกรม เพื่อเก็บ Object program อีกครั้งนี้ การใช้คอมไพเลอร์ถ้าเป็นชุดคำสั่งที่ต้องการทำการประมวลผลต่อเนื่องกันหลายๆ ครั้งจะทำให้การประมวลผลเร็ว เพราะไม่ต้องแปลใหม่อีกสามารถเรียกใช้ Object program ได้เลย ภาษาที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ เช่น Fortran,Cobol เป็นต้น
2.2.2 อินเตอร์พรีตเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง โดยการแปลชุดคำสั่งที่นำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ทีละคำสั่ง และทำการประมวลผลทันทีโดยไม่ต้องทำให้เป็น Object program ถ้าหากพบข้อความผิดพลาดโปรแกรมจะหยุดทำงานทันที เมื่อทำการแก้ไขชุดคำสั่งก็ต้องแปลค่าคำสั่งที่แก้ไขเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่ง จึงจะทำงานการประมวลผลโดยไม่ต้องแปลใหม่หมดทั้งโปรแกรม ครั้งจะทำการประมวลผลช้าลง เพราะต้องแปลใหม่ทุกครั้งที่มีการประมวลผล ภาษาที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ เช่น pascal, Basic เป็นต้น
3.ตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ 1 โปรแกรม ?
ตอบ 1) คอมไพเลอร์ (Compiler)เป็น โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงที่เรียกกันว่า “โปรแกรมต้นฉบับ” (Source Program) ให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง (Object Program) ถ้ามีข้อผิดพลาดเครื่องจะพิมพ์รหัสหรือข้อผิดพลาดออกมาด้วย ภายหลังการแปลถ้าไม่มีข้อผิดพลาด ผู้ใช้สามารถสั่งประมวลผลโปรแกรม และสามารถเก็บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้งานต่อไปได้อีก โดยไม่ต้องทำการแปลโปรแกรมซ้ำอีก ตัวอย่างโปรแกรมแปลภาษาแบบนี้ ได้แก่ โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรน โปรแกรมแปลภาษาโคบอล โปรแกรมแปลภาษาปาสคาล โปรแกรมแปลภาษาซี
ตอบ หลักการเขียนรูปแบบโครงสร้างคำสั่งของภาษานั้นๆ โดยภาษาคอมพิวเตอร์ที่เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อควบคุมและสั่งงานให้เครื่องทำงานตามคำสั่งเพื่อให้ผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ
2.โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ คืออะไร?
ตอบ โปรแกรมแปลภาษาเป็นซอฟต์แวร์หรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่แปลงโค้ดโปรแกรม (Source Program) เป็นคำสั่งปฏิบัติการ (Object Program) เนื่องจากภาษาระดับต่ำและภาษาระดับสูงเป็นภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรับรู้ได้ จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้เป็นตัวแปลภาษาเครื่องเสียก่อนซึ่งโปรแกรมแปลภาษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ตัวแปลภาษาระดับต่ำ ภาษาระดับต่ำแม้ว่าจะเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาเครื่องแต่ลักษณะของภาษานี้ใช้ตัวอักษรแทนชุดคำสั่งของเลขฐานสอง (0,1) ในภาษาเครื่อง จึงจำเป็นชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับต่ำให้เป็นภาษาเครื่อง ซึ่งชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับนี้ ได้แก่ โปรแกรมภาษาแอสเซมเบลอร์ ( Assembler ) ที่ใช้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซทบลี (Assembly)
2.2 ตัวแปลภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่เขียนขึ้นมาเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน โดยมีรูปแบบคำสั่งที่มนุษย์อ่านและวามารถเข้าใจได้เพราะใช้อักขระในภาษาอังกฤษเป็นองค์ประกอบ แต่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจคำสั่งนั้นๆ จึงจำเป็นต้องมีชุดคำสั่งที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องอีกที ซึ่งโปรแกรมภาษาระดับสูง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
2.2.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องลักษณะการแปลภาษาระดับสูงของคอมไพเลอร์นั้น เป็นลักษณะการตรวจสอบคำสั่งที่ได้รับเข้ามาว่าการเขียนคำสั่งนั้นถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของภาษาหรือไม่ถ้ายังไม่ถูกต้องก็จะแจ้งข้อผิดพลาดให้ผู้ใช้ทราบเพื่อจะทำการแก้ไขให้ถูกต้อง ถ้าหากตรวจสอบแล้วถูกต้องจะแปลจาก Source Program ให้เป็น Object program เก็บไว้ในหน่วยความจำ และถ้ามีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงชุดคำสั่งใหม่ จะต้องมีการแปลชุดคำสั่งใหม่ทั้งโปรแกรม เพื่อเก็บ Object program อีกครั้งนี้ การใช้คอมไพเลอร์ถ้าเป็นชุดคำสั่งที่ต้องการทำการประมวลผลต่อเนื่องกันหลายๆ ครั้งจะทำให้การประมวลผลเร็ว เพราะไม่ต้องแปลใหม่อีกสามารถเรียกใช้ Object program ได้เลย ภาษาที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ เช่น Fortran,Cobol เป็นต้น
2.2.2 อินเตอร์พรีตเตอร์ (Interpreter) เป็นโปรแกรมที่ใช้แปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง โดยการแปลชุดคำสั่งที่นำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ทีละคำสั่ง และทำการประมวลผลทันทีโดยไม่ต้องทำให้เป็น Object program ถ้าหากพบข้อความผิดพลาดโปรแกรมจะหยุดทำงานทันที เมื่อทำการแก้ไขชุดคำสั่งก็ต้องแปลค่าคำสั่งที่แก้ไขเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่ง จึงจะทำงานการประมวลผลโดยไม่ต้องแปลใหม่หมดทั้งโปรแกรม ครั้งจะทำการประมวลผลช้าลง เพราะต้องแปลใหม่ทุกครั้งที่มีการประมวลผล ภาษาที่ใช้ตัวแปลประเภทนี้ เช่น pascal, Basic เป็นต้น
3.ตัวอย่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ 1 โปรแกรม ?
ตอบ 1) คอมไพเลอร์ (Compiler)เป็น โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงที่เรียกกันว่า “โปรแกรมต้นฉบับ” (Source Program) ให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง (Object Program) ถ้ามีข้อผิดพลาดเครื่องจะพิมพ์รหัสหรือข้อผิดพลาดออกมาด้วย ภายหลังการแปลถ้าไม่มีข้อผิดพลาด ผู้ใช้สามารถสั่งประมวลผลโปรแกรม และสามารถเก็บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้งานต่อไปได้อีก โดยไม่ต้องทำการแปลโปรแกรมซ้ำอีก ตัวอย่างโปรแกรมแปลภาษาแบบนี้ ได้แก่ โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรน โปรแกรมแปลภาษาโคบอล โปรแกรมแปลภาษาปาสคาล โปรแกรมแปลภาษาซี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)